TTIP will change our lives forever.
It will cost at least 1 million jobs, undermine our most treasured public services, lead to a ‘race to the bottom’ in food, environmental and labour standards and, for the first time, allow US companies to sue the UK government in special courts.
TTIP is marketed as the answer to recession in Europe and the USA, with bogus promises of growth and jobs.
Yet the official study commissioned at the start of the talks calculated that at least 1 million people will lose their jobs in the EU and USA as a direct result of TTIP. With unemployment already at record levels in much of Europe, these people will find it impossible to get new jobs.
TTIP is not just about the EU and USA. Negotiators say that TTIP will set the standard for all future trade and investment rules across the world. This means that TTIP will enshrine the rights of transnational corporations over and above the needs of people and the planet, forever.
We cannot allow that to happen.
Credit.waronwant
Les Lettres philosophiques ou Lettres anglaises จดหมายปรัชญา หรือ จดหมายจากอังกฤษ
เชิญดาวน์โหลดข้อมูลภาษาอังกฤษแบบสมบูรณ์ได้จากลิ้งค์ข้างล่าง
http://www.naturalthinker.net/trl/texts/Voltaire,Francois/Voltaire%20-%20Letters%20on%20England.pdf
http://media.bloomsbury.com/rep/files/Primary%20Source%208.6%20-%20Voltaire.pdf
จดหมายปรัชญา หรือ จดหมายจากอังกฤษ เป็นผลงานชุดบทความที่เขียนโดยวอลแตร์ ซึ่งได้เขียนขึ้นในรูปแบบของจดหมายรวมทั้งสิ้น 25 ฉบับ โดยเนื้อหาส่วนใหญ่ได้เล่าถึงสภาพสังคมของประเทศอังกฤษผ่าน ประสบการณ์ของตัวเอง ที่ได้อาศัย อยู่ในประเทศอังกฤษระหว่าง 1726 และ 1729 ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษในปี 1733 และปีต่อมาจึงตีพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศส
วอลแตร์ได้ใช้สภาพสังคมดังกล่าวเป็นเครื่องมือกระตุ้นให้ชาวฝรั่งเศสได้ รู้จักถึงศาสนา เศรษฐกิจ การเมือง ปรัชญาและวัฒนธรรมของ ประเทศอังกฤษ แล้วนำมาเปรียบเทียบกับประเทศฝรั่งเศส ทำให้เห็นว่าประเทศฝรั่งเศสนั้นยังล้าสมัยอยู่ อีกทั้งเขายังต้องการให้เกิดความเท่าเทียมกันในการเสียภาษีระหว่างชนชั้น สามัญกับชนชั้นอภิสิทธิ์ ต้องการให้เกิดความสมดุลของอำนาจทางการเมือง และต้องการให้รัฐบาลส่งเสริมเสรีภาพด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์อีกด้วย ส่วนตอนท้ายของผลงานชิ้นนี้
วอลแตร์ได้กล่าววิจารณ์ ปาสกาล (Pascal) นักคิดคนสำคัญในศตวรรษที่ 17 อย่างดุเดือดในแง่ความเชื่อ ความศรัทธาในพระเจ้า เนื่องจากปาสคาลเห็นว่า “ความทุกข์ของมนุษย์จะเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ปราศจากพระเจ้า และมนุษย์จะค้นพบความสุขได้เมื่อมีศรัทธาในพระเจ้า” ซึ่งแนวคิดนี้ได้ขัดแย้งกับความคิดด้านศาสนาของวอลแตร์โดยสิ้นเชิง
นอกจากนี้แล้ววอลแตร์ยังได้สอดแทรกความคิดของต้วเองเพื่อเรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศฝรั่งเศสให้ทันสมัยเหมือนอังกฤษ อย่างไรก็ดี แม้วอลแตร์จะต่อต้านความอยุติธรรมในสังคมและความไร้ขันติธรรมทางศาสนาตลอดจน ระบบอภิสิทธิ์ต่าง ๆ แต่ในด้านการเมืองเขาก็ไม่เคยแสดงความคิดเห็นอย่างชัดเจนต่อรูปแบบการปกครอง ที่เขาพึงพอใจ หรือต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงสังคมและการเมืองอย่างถอนรากถอนโคนด้วยการ ปฏิวัติอันรุนแรง เขาคิดว่าการใช้เหตุผลและสติปัญญาสามารถจะแก้ไขปัญหาสังคมและการเมืองได้
Subscribe to:
Posts (Atom)